|
|
ชื่อ Thai Name
|
มะม่วงหิมพานต์ Ma muang him ma phan |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name
|
Anacardium occidentale L. |
|
วงศ์ Family
|
ANACARDIACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name
|
กายี (ตรัง) มะม่วงกาสอ (อุตรดิตถ์) มะม่วงไม่รู้หาว (ภาคกลาง) มะม่วงลังกา (ภาคเหนือ) มะม่วงเล็ดล่อ (ระนอง) ส้มม่วงชูหน่วย (ภาคใต้) Cashew nut tree
|
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกช่อ กลีบดอกสีขาวนวล แล้วเปลี่ยนเป็นสีชมพูอมเหลือง กลิ่นหอมเอียน ผลรูปคล้ายไต เมื่อแก่สีเทาหรือน้ำตาล |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
ในประเทศไทยพบมากทางภาคใต้และตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันปลูกได้ทั่วทุกภาค
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
ใบแก่ ตำพอกแผลไฟไหม้และน้ำร้อนลวก ผลสุก บำรุงกำลัง เป็นยาระบายอ่อน ๆ ขับปัสสาวะ แก้ลักปิดลักเปิด เมล็ด รักษากลาก เกลื้อน บำรุงกำลัง |
||
แหล่งข้อมูล Reference
|
- สมุนไพรไทย มรดกไทย น. 326 - สมุนไพรไม้พื้นบ้าน(3) น.651-661 - สมุนไพรไทย ตอนที่ 1 น. 63 - ต้นไม้ยาน่ารู้ น. 326 การศึกษาฯ - พ่อใหญ่จารย์เคน ลาวงศ์ น. 177 - สารานุกรมสมุนไพรน. 363 - ผักพื้นบ้านภาคใต้ น. 176-177 - ผักพื้นบ้าน :ความหมายและภูมิปัญญา - ของสามัญชนไทย น. 212
|
||
พิกัด UTM |
101º 30´ 25.9" E 13º 45´ 01.4" N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง |
||
|