|
|
ชื่อ Thai Name
|
มะพอก Ma phok |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name
|
Parinari anamensis Hance |
|
วงศ์ Family
|
CHRYSOBALANACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name
|
กระท้อนลอก (ตราด) จัด จั๊ด (ลำปาง) ท่าลอก (นครราชสีมา ปราจีนบุรี พิษณุโลก) ประดงไฟ ประดงเลือด (ราชบุรี) พอก (อุบลราชธานี) มะคลอก (สุโขทัย อุตรดิตถ์) มะมื่อ หมักมื่อ (ภาคเหนือ) หมักมอก (พิษณุโลก) หมากรอก (ประจวบคีรีขันธ์)
|
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ ท้องใบมีขนขาวแกมน้ำตาล ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาว ผลสด ค่อนข้างกลมหรือรูปกระสวย |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
พบขึ้นทั่วไปตามป่าดิบ ป่าดิบแล้ง ป่าดงดิบ ป่าผลัดใบ ป่าผสม ป่าเต็งรัง และตามป่าเบญจพรรณ ตั้งแต่ความสูงจากระดับทะเลจนสูงถึง 1,500 เมตรในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ยกเว้นทางภาคใต้
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
เปลือก ประคบแก้ช้ำในและแก้ปวดบวม แก่น ต้มน้ำดื่มและอาบแก้ประดง แก้ผื่นคันทั่วตัว ปวดแสบร้อน มีน้ำเหลืองไหลซึม รักษาโรคหืด เนื้อไม้ ใช้ทำ ฝา ฝ้า ผล เนื้อภายใน ใช้รับประทานได้ น้ำมันจากเมล็ด ให้ทาเครื่องเขินให้เป็นเงา ทากระดาษร่มกันน้ำซึม ปัจจุบันใช้เป็นน้ำมันเคลือบธนบัตร ทำให้ทนทานเป็นเงา มีกลิ่นหอมและเนื้อกระดาษไม่ติดกัน
|
||
แหล่งข้อมูล Reference |
- สยามไภษัชยพฤกษ์ น. 177 - พรรณไม้พื้นบ้านอีสาน น. 88-89 - สารานุกรมสมุนไพร น. 313 คีรีขันธ์)
|
||
พิกัด UTM |
101º 30´ 26.6" E 13º 45´ 02.4" N 47P 0771152 m.E 1521561 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ด |
||
|