พรรณไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดภูเก็ต
|
|
ชื่อ Thai Name |
ประดู่บ้าน Pra du ban |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Pterocarpus indicus Willd.
|
|
วงศ์ Family |
FABACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
ดู่บ้าน (ภาคเหนือ) ประดู่กิ่งอ่อน ประดู่ลาย ประดู่อังสนา (ภาคกลาง) Angsana |
||
ลักษณะ Characteristics |
ไม้ต้น ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ มี 10-26 ใบย่อย ดอกช่อแยกแขนง สีเหลือง ออกที่ปลายกิ่ง ผลเป็นฝัก รูปเกือบกลม มีปีก |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ในประเทศไทยพบทางภาคใต้ ออกดอกเดือนเมษายน-สิงหาคม ดอกจะบานและโรยพร้อม ๆ กัน
|
||
ประโยชน์ Utilization |
เปลือกต้น แก้บิด แก้ท้องเสีย แก้ปากเปื่อย เนื้อไม้ บำรุงธาตุ บำรุงโลหิต แก้พิษไข้ ขับเสมหะ น้ำยาง แก้ท้องเสีย แก้ปากเปื่อย ใบ แก้ผดผื่นคัน |
||
แหล่งข้อมูล Reference |
- สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (2) น. 556-557 - ต้นไม้เมืองเหนือ น. 177 - สารานุกรมสมุนไพร น. 272 - ต้นไม้ยาน่ารู้ 179 |
||
พิกัด UTM |
47P 0770566 m.E 1520751 m.N 47P 0770604 m.E 1521753 m.N 47P 0770948 m.E 1520980 m.N 47P 0770987 m.E 1521180 m.N 47P 0771167 m.E 1520647 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย : การเพาะเมล็ดและการปักชำกิ่ง การเพาะเมล็ด เด็ดปีก แล้วแช่น้ำไว้ 1 คืน ก่อนนำไปเพาะ
|
||
|