|
|
ชื่อ Thai Name
|
เสม็ดชุน Sa met chun |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Syzygium antisepticum (Blume) Merr. & L. M. Perry |
|
วงศ์ Family
|
MYRTACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name
|
ไคร้เม็ด (เชียงใหม่) เม็ก (ปราจีนบุรี) เม็ดชุน(นครศรีธรรมราช) เสม็ด (สกลนคร สตูล) เสม็ดเขา เสม็ดแดง (ตราด)
|
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกช่อ สีขาวอมเหลือง ออกที่ง่ามใบหรือปลายกิ่ง ผลสด สีขาว รูปค่อนข้างกลม |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution
|
ในประเทศไทยพบในที่ชื้นตามป่าดิบแล้ง ตามที่โล่งแจ้งและบริเวณหลังป่าชายเลน ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึง 1,400 เมตร ในต่างประเทศพบในอินดีย เมียนมาร์ มาเลเซียจนถึงฟิลิปปินส์ ติดดอกและออกผลช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
ใบ แก้เคล็ดขัดยอก แก้ฟกบวม แก้ปวดท้อง แก้ท้องอืด รมไฟนวดท้องเด็ก ยอดอ่อน รับประทานเป็นผักสดได้ ผล เป็นอาหารของสัตว์ |
||
แหล่งข้อมูล Reference
|
- สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน น. 156 - สารานุกรมสมุนไพร น. 443
|
||
พิกัด UTM |
47P 0771170 m.E 1521509 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ด |
||
|