|
|
ชื่อ Thai Name
|
ยางกราด Yang Krat |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Dipterocarpus intricatus Dyer |
|
วงศ์ Family
|
DIPTEROCARPACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name
|
ชะแบง ตะแบง สะแบง (สุรินทร์) ตาด (นครราชสีมา) ลาง (ชลบุรี) เหียง (ภาคตะวันออกเฉียงใต้) เหียงกราด (เพชรบุรี ราชบุรี) เหียงน้ำมัน (ราชบุรี)
|
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกช่อ กลีบดอกสีชมพูแก่ ออกที่ง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง ผลค่อนข้างกลม มีครีบบาง ๆ พับไปมาซ้อนกันตามความยาวของผล มีปีกยาว 2 ปีก ปีกสั้น 3 ปีก |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นหนาแน่นตามป่าเต็งรังและที่ราบที่เป็นหินทราย ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
น้ำมันยาง ใส่แผล เปลือก ต้มน้ำทาถูนวด แก้ปวดตามข้อ |
||
แหล่งข้อมูล Reference |
- สมุนไพรไทย ตอนที่ 5 น. 597 - ไม้ยางนาและไม้ในวงศ์ไม้ยาง น. 45 - พรรณไม้พื้นบ้านอีสาน เล่ม 1 น. 109 |
||
พิกัด UTM |
47P 0771344 m.E 1521635 m.E |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ด |
||
|