|
|
ชื่อ Thai Name |
ตองแตก Tong taek |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Baliospermum solanifolium (Burm.) Suresh |
|
วงศ์ Family |
EUPHORBIACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
ตองแต่ tong tae(ประจวบคีรีขันธ์) ถ่อนดี ทนดี thon di (ตรัง ภาคกลาง) โทะโคละ tho-khlo (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) นองป้อม nong pom, ลองปอม long pom (เลย)
|
||
ลักษณะ Characteristics |
ไม้พุ่ม ใบเดี่ยว เรียงเวียน ขอบใบหยัก ดอกช่อ แยกเพศ อยู่ร่วมต้น ออกที่ง่ามใบ สีเหลืองแกมเขียว ผลแห้งแตก |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
ในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าไผ่ และตามที่รกร้าง ที่ความสูงจากระดับทะเลถึง 700 เมตร ในต่างประเทศพบที่อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา ลงมาจนถึงเมียนมาร์ กัมพูชา ลาว เวียดนาม อินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย เกาะบอเนียว สุมาตรา ชวา มาลูกู สุราเวศรี เลสเซอร์ เกาะซันดร้า
|
||
ประโยชน์ Utilization |
ราก เป็นยาถ่าย ขับลม ขับเสมหะ แก้บวมน้ำ แก้ดีซ่าน แก้ม้ามอักเสบ และรักษาโรคโลหิตจาง ใบ เป็นยาถ่าย รักษาโรคหืด เมล็ด เป็นยาถ่ายอย่างแรง แก้ปวดตามข้อ Leaf: purgative, antiasthmatic ; Seed: purgative, relief of joint pain |
||
แหล่งข้อมูล Reference |
- สยามไภษัชยพฤกษ์ น. 43 - สมุนไพรไทย มรดกไทย น. 113 - สมุนไพรไทย น. 117 - สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (2) น. 38-40 - สมุนไพรไทย ตอนที่ 5 น. 647-648
|
||
พิกัด UTM |
47P 0771063 m.E 1521426 m.N 47P 0771088 m.E 1521591 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย : การเพาะเมล็ด |
||
|