|
|
ชื่อ Thai Name |
ตะคร้ำ Ta khram |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Garuga pinnata Roxb. |
|
วงศ์ Family |
SAPINDACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
กะตีบ katip, แขกเต้า khaek tao, ค้ำ kham หวีด wit (ภาคเหนือ) ปีชะออง pi-cha-ong (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) มะกอกกาน ma kok kan (ภาคกลาง) อ้อยน้ำ oi nam (จันทบุรี) |
||
ลักษณะ Characteristics |
ไม้ต้น ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงเวียน ดอกช่อแยกแขนง ออกที่ง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง สีขาว ผลแห้งแตก รูปเกือบกลม มีหนามยาว |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
- |
||
ประโยชน์ Utilization |
ลำต้น ผสมรากสามสิบ เปลือกต้นเสี้ยวใหญ่และรากเจตพังคี หรือผสมแก่นพะยูง และแก่นประดู่ป่า หรือผสมแก่นกรวยป่า แก่นกระทุ่มหูกวาง และรากกัดลิ้น หรือผสมเถากระดึงช้างทั้งต้น ใบพลับพลึงและปรงสวนทั้งต้น ต้มน้ำดื่ม แก้อัมพฤกษ์ อัมพาต Fruit: stomachic |
||
แหล่งข้อมูล Reference |
สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน น. 143 |
||
พิกัด UTM |
47 P0770858 m.E 15211202 m.N 47P 0771319 m.E 1521660 m.N 47P 0771385 m.E 1522541 m.N 47P 0771646 m.E 1522590 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
|
||
|