|
|
ชื่อ Thai Name |
ชะมวง Cha muang |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Garcinia cowa Roxb. ex Choisy |
|
วงศ์ Family |
CLUSIACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
กะมวง ka muang (ภาคใต้) กานิ ka-ni (มลายู-นราธิวาส) มวงส้ม muang som (นครศรีธรรมราช) หมากโมก mak mok (อุดรธานี) |
||
ลักษณะ Characteristics |
ไม้ต้น น้ำยางสีเหลือง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกสีเหลือง ผลสุกสีเหลืองอมส้ม |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
พบตามป่าดิบชื้นตามที่ลุ่มต่ำทั่วไป และจะพบได้มากทางภาคใต้ ภาคตะวันออก และทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ที่ความสูงจากระดับทะเลประมาณ 800 เมตรขึ้นไป (บ้างว่า 600 เมตรขึ้นไป) |
||
ประโยชน์ Utilization |
ราก แก้ไข้ แก้ร้อนในกระหายน้ำ ถอนพิษไข้ แก้บิด ขับเสมหะ ใบ แก้ไข้ ขับเสมหะ บำรุงธาตุ แก้ไอ แก้กระหายน้ำ ผล ระบายท้อง แก้ไข้ ขับเสมหะ แก้กระหายน้ำ ฟอกโลหิต Root: antipyretic, relief of thirst, antidysenteric, expectorant |
||
แหล่งข้อมูล Reference |
- สมุนไพรไทย มรดกไทย น. 145 - สมุนไพรไทย น. 101 - สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (1) น. 761 - สมุนไพรไทย ตอนที่ 6 น. 59 - พรรณไม้พื้นบ้านอีสาน เล่ม 1 น. 100-101 |
||
พิกัด UTM |
47P 0770621 m.E 1520533 m.N 47P 0771124 m.E 1521475 m.N 47P 0771359 m.E 1521589 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย : การเพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง |
||
|