|
|
ชื่อ Thai Name |
ช้าแป้น Cha paen |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Callicarpa arborea Roxb. |
|
วงศ์ Family |
LAMIACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
กะตอกช้าง katok chang, ตาโมงปะสี (ยะลา) ขลุ่ย khlui (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่) ดือดะดาปู due-da-da-pu (มลายู-นราธิวาส) ตาโมงปะสี ta mong pasi (ยะลา) เตน ten (เลย) ทับแป้ง thap paeng (สระบุรี) เปอควุย poe-khwui, และทุ่ง lae-thung (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ผ้า pha (เชียงใหม่ ภาคกลาง) ผ้าลาย pha lai (ภาคใต้) ฝ้า fa, ฝ้าขาว fa khao, พ่าขาว pha khao (ภาคเหนือ) พ่า pha (ภาคกลาง) มะผ้า ma pha (แม่ฮ่องสอน) สักขี้ไก่ sak khi kai (ลำปาง) เสี้ยม siam (จันทบุรี) หูควาย hu khwai (ตรัง ภาคเหนือ) หูควายขาว hu khwai khao (สุราษฎร์ธานี) หูควายใหญ่ hu khwai yai (ชุมพร) Beautyberry tree |
||
ลักษณะ Characteristics |
ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม มีขนปกคลุมทั้งสองด้าน ดอกช่อ ออกที่ง่ามใบ กลีบดอกสีม่วง ผลสด รูปทรงกลม เมื่อสุกสีม่วง |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
||
ประโยชน์ Utilization |
เปลือกต้น ต้มน้ำดื่ม วันละ 3 ครั้ง และนั่งแช่รักษาอัมพาตระยะที่เป็นใหม่ ๆ แก่น ผสมสมุนไพรอื่นรวม 35 ชนิด ฝนน้ำดื่ม แก้ไข้เปลี่ยนฤดูหรืออีสุกอีใส |
||
แหล่งข้อมูล Reference คิวอาร์โค้ด QR Code |
- สมุนไพรพื้นบ้านล้านนา น. 56 - พืชสมุนไพรในประเทศไทย ตอนที่ 3 น. 40-41
|
|
||
|