พรรณไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดอุดรธานี
|
|
ชื่อ Thai Name
|
รัง Rang |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name
|
Shorea siamensis Miq. |
|
วงศ์ Family
|
DIPTEROCARPACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name
|
เปา เปาดอกแดง (ภาคเหนือ) ฮัง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
|
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้ต้น ผลัดใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกช่อ สีเหลืองอ่อน ออกที่กิ่งและปลายกิ่ง มีกลิ่นหอมแรง ผลรูปไข่ปลายแหลม มีปีกยาว 3 ปีกและปีกสั้น 2 ปีก |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution
|
พบขึ้นตามป่าเต็งรังและเขาหินปูน ที่ความสูงจากระดับทะเล 100-1,300 เมตร ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ช่วงเวลาออกดอกและติดผลเดือนมกราคมถึงเมษายน ออกดอกหลังใบร่วงแล้วพร้อมแตกใบใหม่ ในต่างประเทศพบที่เมียนมาร์ ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
เปลือก แก้โรคทางเดินอาหาร แก่น เป็นยาอายุวัฒนะ ใบ รักษาแผลพุพองของเด็ก |
||
แหล่งข้อมูล Reference
|
- สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (4) น. 172 - พรรณไม้พื้นบ้านอีสาน เล่ม 1 น. 116-117
|
||
พิกัด UTM |
101º 30´ 17.5" E 13º 45´ 14.2" N 47P 0770882 m.E 1521005 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ด (เด็ดปีกก่อนนำเมล็ดไปเพาะ) |
||
|