พรรณไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดกรุงเทพมหานคร
|
|
ชื่อ Thai Name
|
ไทรย้อย Sai yoi |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Ficus benjamina L. |
|
วงศ์ Family
|
MORACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name
|
ไทร (นครศรีธรรมราช) ไทรกระเบื้อง (ประจวบคีรีขันธ์) ไทรย้อยใบแหลม (กรุงเทพฯ ตราด) Golden fig |
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้ต้น น้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ ผลแบบมะเดื่อ เมื่อสุกสีเหลือง ส้ม สุกงอมสีดำ ไทรกระเบื้อง (ประจวบคีรีขันธ์) ไทรย้อยใบแหลม (กรุงเทพฯ ตราด) |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
พบขึ้นกระจายในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา และบางครั้งอาจพบได้ตามเขาหินปูน จนถึงที่ความสูงจากระดับทะเลประมาณ 1,300 เมตร ในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค ในต่างประเทศพบที่อินเดีย เนปาล ปากีสถาน จีนตอนใต้ เมียนมาร์ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
ราก ขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ แก้กระษัย แก้ไตพิการ เปลือก สมานแผล แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม แก้ตับพิการ แก้แผลที่ฟกช้ำ น้ำยาง รักษามะเร็ง ดอก แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม ทั้ง 5 ขับพยาธิ
ปลูกประดับ ให้ร่มเงา ผลเป็นอาหารของนก |
||
แหล่งข้อมูล Reference
|
สยามไภษัชยพฤกษ์ น. 121 สมุนไพรไทย มรดกไทย น. 104 สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (2) น. 446-449 สมุนไพรไทย ตอนที่ 7 น. 214-215 สารานุกรมสมุนไพร น. 244
|
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ด การตอนกิ่ง และการปักชำ |
||
|