|
|
ชื่อ Thai Name
|
ตูมกาขาว Tum Ka Khao |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Strychnos nux–blanda A. W. Hill |
|
วงศ์ Family |
LOGANIACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
ขี้กา (ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ) มะติ่ง มะติ่งต้น มะติ่งหมาก (ภาคเหนือ)
|
||
ลักษณะ Characteristics |
ไม้ต้น สูงประมาณ 15 เมตรเปลือกต้นสีเทาอมเหลือง ใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้าม รูปไข่ปลายใบมน โคนใบแหลม หรือเว้าเป็นรูปหัวใจเล็กน้อย ดอกช่อ ออกที่ง่ามใบ กลีบดอกสีเหลืองแกมเขียว ผลกลม เมื่อสุกสีเหลืองอมส้มเปลือกผลหนาและสาก |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
|
||
ประโยชน์ Utilization |
ในทางสมุนไพร ราก รสเมาเบื่อ แก้ไข้มาลาเรีย เป็นยาระบาย แก้อักเสบจากงูกัด ลำต้น รสเมาเบื่อ แก้ปวดตามข้อ เนื้อไม้ แก้ไข้ แก้พิษร้อน ช่วยเจริญอาหาร บำรุงประสาท แก้ไข้เซื่องซึม แก่น รสเมาเบื่อ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ใบ แก้ฟกบวม |
||
แหล่งข้อมูล Reference |
- สยามไภสัชยพฤกษ์ น.218 - สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (2) น. 120 - สมุนไพรไทย ตอนที่ 7 น. 12 - สารานุกรมสมุนไพร น. 216 - การศึกษาพืชสมุนไพรที่ใช้เป็นยาดองเหล้าในภาคเหนือของประเทศไทย
|
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ข้อควรระวัง ไม่มีงานวิจัยรองรับเรื่องความปลอดภัยหรือความเป็นพิา อย่างไรก็ตามหากใช้เป็นยา ไม่ควรใช้ติดต่อกันเกิน 7 วัน หรือใช้ภายใต้การดูแลของแพทย์ |
||
|