พรรณไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดปัตตานี
|
|
ชื่อ Thai Name
|
ตะเคียนทอง Ta khian thong |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name
|
Hopea odorata Roxb. |
|
วงศ์ Family
|
DIPTEROCARPACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name
|
แคน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จะเคียน (ภาคเหนือ) ตะเคียน ตะเคียนใหญ่ (ภาคกลาง) Iron wood |
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง สีเหลือง ผลมีปีกยาว 2 ปีก ปีกสั้น 3 ปีก |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution
|
พบขึ้นในป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ บริเวณใกล้แหล่งน้ำทั่วไป ในต่างประเทศพบที่เมียนมาร์ ลาว เวียดนามใต้ กัมพูชา หมู่เกาะอันดามัน และคาบสมุทรมลายู
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
เปลือก แก้ปวดฟัน แก้เหงือกอักเสบ เนื้อไม้ แก้คุดทะราด แก้ท้องร่วง แก้กำเดา สมานแผล แก่น รักษาคุดทะราด ขับเสมหะ แก้บิด แก้กำเดา สมานแผล ยาง รักษาบาดแผล แก้ท้องเสีย |
||
แหล่งข้อมูล Reference
|
- สยามไภษัชยพฤกษ์ น. 139 - สมุนไพรไทย มรดกไทย น. 51 - สมุนไพรไทย น. 122 - สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (2) น. 60-61 - สมุนไพรไทย ตอนที่ 5 น. 602 - สารานุกรมสมุนไพร น. 202
|
||
พิกัด UTM |
101º 30´ 16.5" E 13º 45´ 13.3" N 47P 0770938 m.E 1521048 m.N 47P 0770939 m.E 1521049 m.N 47P 0770941 m.E 1520776 m.N 47P 0770950 m.E 1520327 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ด |
||
|